|
|
|
 |
|
สภาพทางสังคมโดยทั่วไป มีลักษณะชุมชนหนาแน่นไม่มากมาก กระจายอยู่ตามชุมชนหมู่บ้าน ประชาชนปะปนกันระหว่างชาวไทยเหนือกับไทยอิสาน ซึ่งสามารถอยู่ร่วมกันได้โดยปกติสุข |
|
|
|
 |
|
ประชาชนในเขตเทศบาลได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้น ใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ้ายและผ้าไหม เครื่องจักสานที่ทำจากไม้ไผ่ |
|
|
|
|
|
 |
|
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 นับถือศาสนาอื่น ๆ ร้อยละ 1 |
|
|
|
|
 |
|

 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|

 |
ประชาชนในเขตเทศบาลได้อนุรักษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทำเครื่องจักสานใช้สำหรับในครัวเรือน วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม วิธีการทอเสื่อจากต้นกก |

 |
ภาษาถิ่น |
|

 |
ภาษาอิสาน ร้อยละ 50 ภาษาเหนือ ร้อยละ 50 |
|
|
|
|
|
|
 |
|

 |
เทศบาลตำบลเม็งรายติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดที่เป็นที่สาธารณะ ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวัน เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน |

 |
ศูนย์ประสานงานป้องกันปราบปรามยาเสพติด (หมู่ที่ 10)
จำนวน 1 แห่ง |
|
|
|
|
 |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล จำนวน 2 แห่ง คือ |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลเม็งราย |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านศรีสะอาด |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
 |
|

 |
สถานศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ |
|

 |
โรงเรียนบ้านหนองเสา |

 |
โรงเรียนบ้านเวียงหวาย |
|

 |
โรงเรียนบ้านหนองบัวคำ |

 |
โรงเรียนบ้านป่าซาง |
|

 |
โรงเรียนบ้านสันป่าสัก |

 |
โรงเรียนบ้านศรีสะอาด |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองเสา |
|

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเม็งราย |
|
|
|
|
 |
|

 |
งานไหว้สาพญามังราย |

 |
ประเพณีสู่ขวัญข้าว |

 |
ประเพณีบุญบั้งไฟ |

 |
ประเพณีสงกรานต์ |

 |
ประเพณีบุญผะเหวด |

 |
งานข้าวประดับดิน บุญเดือนสิบ |

 |
งานตานก๋วยสลากพัตร |

 |
งานบุญกฐิน |

 |
งานบุญข้าวจี่ บุญเดือนสาม |

 |
ประเพณีลอยกระทง |

 |
ประเพณีวันเข้าพรรษา - ออกพรรษา วันมาฆบูชา |
|
|
|
|